การเขียนโปรแกรมภาษา ASP

            
               

Out put

เพิ่มเติมกรณีค่าของ Cookie หายไป
Response.cookies("cookie-name")="" กำหนดค่าว่างให้ Cookie
Response.cookies("cookie-name") ทับ Cookie ที่มีอยูแล้ว
Response.cookies("cookie-name") หมดอายุ
เพิ่มประสิทธิภาพให้กับ Web Server

การลดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ Web Server เป็นการลดการทำงานบางอย่างที่ Server ต้องทำเพื่อตรวจสอบค่าที่อยู่ใน Program ที่มาประมวลผลที่ Server ซึ่งบางทีเราสามารถลดขั้นตอนตรงนี้เพื่อที่ให้ Server ทำงานในส่วนนี้น้อยลงได้ และสามารถประมวลผลในส่วนอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
<%@ EnableSessionState = False %>

ถ้าไม่มีการประกาศตัวแปรประเภท Session เพื่อ Server
ลดการทำงานในการตรวจสอบตัวแปร Session

<% Response.Buffer = True %>

เป็นการใช้ Buffer ในการประมวล จะเพิ่มประสิทธิภาพใน
การส่งข้อมูลเร็วขึ้น ตากปกติถ้าไม่กำหนด Default ของ
ฺBuffer จะเป็น False


การเพิ่มความเร็วในการติดต่อกับ Database
การเพิ่มความเร็วในการติดต่อกับ Database ในการที่ Program ที่มีการประมวลผลกับข้อมูลจำนวนมาก และขนาดใหญ่ หรือมีการ Query ข้อมูลหลายชุดใน Program ก็จะทำให้การทำงานของ Program นี้ช้าลงอย่างมาก แต่ถ้าลองใช้ Session เข้ามาช่วยจะทำให้การทำงานเร็วขึ้นมาได้ เพราะเวลาที่ Run Program จะไม่ไปเปิดการเชื่อมต่อกับ Database แต่จะไปเรียกให้ Session ทำงานซึ่งจะทำให้การทำงานของ Program นี้เร็วขึ้น

Exam

Session("object")=Object Connection
ความหมายของ Global.asa ?
global.asa เป็นไฟล์เสริมเพิ่มเติมสำหรับการใช้งาน ASP ในชั้นสูง ไฟล์นี้มีประโยชน์คือ จะทำหน้าที่เก็บค่าต่างๆ
ไว้ใช้ในภายหลัง ไฟล์นี้จะต้องเก็บอยู่ที่ Root ของ ASP application โดย web server จะอ่านค่าต่างๆในไฟล์นี้
มาประมวลผลและเก็บไว้ในหน่วยความจำ รอการเรียกใช้จากผู้ใช้ทั่วไปหรือผู้พัฒนาโปรแกรม การแก้ไขไฟล์นี้
ในภายหลังจะไม่เกิดผลการเปลี่ยนแปลงเลย เหมือนกับไฟล์ .asp ทั่วไป จะต้องทำการ Restart Server หรือ
โปรแกรม PWS/IIS ถึงจะเกิดการเปลี่ยนแปลง ภายในไฟล์จะแบ่งเป็น 2 ส่วนหลักๆคือ Application Events
และ Session Events ส่วนรายละเอียดเป็นอย่างไรนั้นแนะนำให้อ่านใน Road map ส่วนในบทเรียนนี้


Application_Onstart

เป็นเหตุการณ์ที่เกิดก่อนเหตุการณ์ Session_Onstart เหตุการณ์แรกจะเกิดขึ้น

Application_Onend

เป็นเหตุการณ์เมื่อ Web Application สิ้นสุดลงหรือปิดลง

Session_Onstart

เป็นเหตุการเมื่อมีผู้ใช้ติดต่อเข้ามา

Session_Onend

เป็นเหตุการเมื่อมีผู้ใช้ยกเลิกการติดต่อหรือหมดเวลา (Timeout)



เราจะให้คุณได้ลองใช้ global.asa ก่อนอื่นสร้างไฟล์ก่อนนะครับ โดยสร้าไฟล์ชื่อ global.asp และเก็บใว้ Root นอกสุดของ Path
และสร้างไฟล์ counter.txt

รายละเอียดของไฟล์ global.asa



<SCRIPT LANGUAGE=VBSCRIPT RUNAT=SERVER>

'เปิดไฟล์ Text สำหรับบันทึกจำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ การเรียกใช้มีคำอธิบายอยู่ด้านล่าง
'ในส่วนของ Sub Application_OnStart นี้สามารถใส่ application อื่นๆได้อีกตามต้องการ
'แต่สิ่งที่จะใส่ในส่วนนี้ควรเป็น โปรแกรมที่ต้องมีการ share หรือใช้ตัวแปรนี้ร่วมกันทุกคนที่เข้ามาในเว็บไซต์
'เช่น จำนวน visitor ในตัวอย่างนี้ หรืออาจจะนำมานับจำนวนคนที่กำลัง connect กับเว็บไซต์ของคุณ
'อยู่ก็ได้
Sub Application_OnStart
VisitorCountFilename = Server.MapPath("counter.txt")
Set FileObject = Server.CreateObject("Scripting.FileSystemObject")
Set Out= FileObject.OpenTextFile (VisitorCountFilename, 1, False, False)
Application("visitors") = Out.ReadLine
Application("VisitorCountFilename") = VisitorCountFilename
End Sub
'ถ้าเปิด Application ใดๆใน Application_OnStart ควรต้องมาปิดในนี้ด้วย
Sub Application_OnEnd
Set FileObject = Server.CreateObject("Scripting.FileSystemObject")
Set Out= FileObject.CreateTextFile (Application("VisitorCountFilename"), True, False)
Out.WriteLine(Application("visitors"))
Out.Close
End Sub

'Sub Session_OnStart นี้ใช้สำหรับส่งหรือบันทึกตัวแปรไว้เพื่อให้ผู้ใช้เว็บไซต์แต่ละคน
Sub Session_OnStart
'ดูตัวอย่างการนำ session สองตัวแปรนี้ไปใช้ในไฟล์ .asp ได้ที่ตัวอย่างด้านล่าง
Session("PageTheme") = "background=/bg.jpg text=#000000 bgcolor=#FFFFFF link=#0000ee vlink=#551A8B alink=#ff0000"
Session("PageTitle") = " ส่วนแก้ของไตเติล "
'เขียนจำนวนผู้ใช้เว็บเพิ่มอีก 1 คน
Application.Lock
Application("visitors") = Application("visitors") + 1
t_visitors = Application("visitors")
Application.Unlock
Session("VisitorID") = t_visitors
If t_visitors MOD 15 = 0 Then
Set FileObject = Server.CreateObject("Scripting.FileSystemObject")
Set Out= FileObject.CreateTextFile (Application("VisitorCountFilename"), True, False)
Application.Lock
Out.WriteLine(t_visitors)
Application.Unlock
End If
End Sub

'ลบตัวแปรที่กำหนดไว้ใน Sub Session_OnStart
Sub Session_OnEnd
Session("PageTheme") = Nothing
Session("PageTitle") = Nothing
End Sub
</SCRIPT>

การเรียกใช้ตัวแปรและ Application ที่กำหนดไว้ใน global.asa
1. Application ในการนับจำนวนผู้ใช้เว็บไซต์
การใช้คุณจะต้อง สร้างไฟล์ text ว่างๆชื่อ counter.txt ไว้ใน Root นอกสุด ก่อน
จากนั้นให้เรียกใช้เว็บไซต์จากส่วนใดก็ได้ที่มีนามสกุลไฟล์ .asp ซึ่งจะทำให้ webserver
อ่านไฟล์ global.asa จากนั้น ASP จะเขียนจำนวนตัวเลขไว้ในไฟล์ text ดังกล่าว
ในครั้งต่อไปที่ท่านเรียกไฟล์ .asp ใดๆในเว็บไซต์อีก จำนวนตัวเลขที่อยู่ในไฟล์นี้ก็จะเพิ่ม
ขึ้นมาอีก 1 ส่วนการนำตัวเลขในไฟล์ counter.txt มาแสดงในเว็บไซต์ ก็เพียงแต่แทรก
code ต่อไปนี้ในไฟล์.asp ในตำแหน่งที่ต้องการ

You are visitors No. <%=Application("visitors")%> Since mm/dd/yy

2. การนำ session PageTheme และ Session PageTitle ไปใช้ในไฟล์ .asp ใดๆในเว็บไซต์
ให้คุณสร้างไฟล์ .asp อะไรก็ได้ขึ้นมา 1 ไฟล์ แต่ในส่วนหัวของไฟล์ให้ใส่ code ต่อไปนี้ไว้
จากนั้นลองเรียกไฟล์ดูเพื่อดูผล ไฟล์ทุกไฟล์ในเว็บไซต์ ถ้าใส่ code นี้ไว้จะทำให้มี Title
และรูปแบบสีของลิ้งค์ ตัวอักษร ภาพพื้นหลังเหมือนกัน ถ้าต้องการเปลี่ยนส่วนใดส่วนหนึ่งก็เพียง
ไปเปลี่ยนที่ไฟล์ global.asa เท่านั้น แล้ว restart IIS หรือ PWS ใหม่ รูปแบบก็จะเปลี่ยน
ไปทันที โดยไม่ต้องไปเสียเวลาแก้ไฟล์แต่ละไฟล์เหมือนกับที่ใช้ .htm หรือ .html ธรรมดา
<html>
<head>
<title><%=Session("PageTitle")%></title>
</head>
<body <%=Session("PageTheme")%>>
You are visitors No. <%=Application("visitors")%> Since mm/dd/yy
</body>
</html>
Function Procedures ของ Asp
    ฟังก์ชันต่าง ๆ เหล่านี้ สามารถนำไปใช้ได้ทันที ซึ่งมีดังนี้
1. กลุ่มการเก็บข้อมูล


IsArray()
IsDate()
IsNumeric()
IsObject()

ตรวจสอบว่าตัวแปรนั้นเป็นอาร์เรย์หรือไม่
ตรวจสอบว่าตัวแปรนั้นเป็นชนิดวันที่หรือไม่
ตรวจสอบว่าตัวแปรนั้นเป็นตัวเลขหรือไม่
ตรวจสอบว่าตัวแปรนั้นเป็น OLE AutomationObject หรือไม่

2. กลุ่มจัดการกับสตริง


Cstr()
Len()
Lcase()
StrComp()
Val()
Ucase

แปลงข้อมูลที่เก็บในตัวแปรให้เป็นสตริง
จะบอกความยาวของสตริงว่ากี่ตัวอักษร
แปลงสตริงให้อยู่ในตัวพิมพ์เล็ก
เป็นการเปรียบเทียบสตริง 2 ตัวว่าเหมือนกันหรือไม่
จะแปลงค่าสตริงให้กลับเป็นตัวเลข
แปลงสตริงนั้นให้อยู่ในตัวอักษรพิมพ์ใหญ่

3. กลุ่มวันเวลา


Date()
Time()
New()
Day()
Month()
Year()
Hour()
Minute()
Weekday

บอกวันที่ปัจจุบัน
บอกเวลาปัจจุบัน
บอกวัน เวลา ของเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนั้น
บอก วัน ปัจจุบัน
บอกเดือนปัจจุบัน
บอกปี ปัจจุบัน
บอกชั่วโมง ปัจจุบัน
บอกนาทีขณะนั้น
บอกว่าเป็นวันไหนของสัปดาห์ (1=อาทิตย์…..7=เสาร์)

4. กลุ่มคณิตศาสตร์


Rnd()
Sqr()
Sin()
Log()

เป็นกลุ่มค่าตั้งแต่ 0 – 1
คำนวนค่ารากที่สอง
คำนวนค่า sin
คำนวนค่า Logarithm

5. กลุ่มทั่วไป


MsgBox
InputBox

แสดงข้อมูลในลักษณะไดอะล็อกบ็อกซ์ให้ผู้ใช้ทราบ
เป็นการรับข้อมูลจากผู้ใช้

ฟังก์ชัน ABS แปลงตัวเลขเป็นค่าสัมบูรณ์(absolute)
ฟังก์ชัน ASC แปลงตัวอักษร เป็น ตัวเลข ascii ฐาน10 หรือแปลงตัวอักษร เป็น ANSI character codeตัวเลข ascii ฐาน 10 จะอยู่ในช่วง 0 - 255
ฟังก์ชัน CDATE แปลงตัวอักษร ให้มีรูปแบบเป็นวันที่
ฟังก์ชัน CHR แปลงตัวเลข ascii ฐาน 10 เป็น ตัวอักษรตัวเลข ascii ฐาน 10 จะอยู่ในช่วง 0 - 255
ฟังก์ชัน DAY แปลงค่าวันที่ เป็น เลขวันที่
ฟังก์ชัน MONTH แปลงค่าวันที่ เป็น เลขเดือน
ฟังก์ชัน YEAR แปลงค่าวันที่ เป็น เลขปี
ฟังก์ชัน HOUR แปลงเวลา เป็น เลขชั่วโมง
ฟังก์ชัน MINUTE แปลงเวลา เป็น เลขนาที
ฟังก์ชัน SECOND แปลงเวลา เป็น เลขวินาที
ฟังก์ชัน LCASE แปลงตัวอักษร เป็นตัวอักษรพิมพ์เล็ก
ฟังก์ชัน UCASE แปลงตัวอักษร เป็นตัวอักษรพิมพ์ใหญ่
ฟังก์ชัน LEFT ตัดตัวอักษรทางด้านซ้ายมาใช้เท่าที่ต้องการ
ฟังก์ชัน RIGHT ตัดตัวอักษรทางด้านขวามาใช้เท่าที่ต้องการ
ฟังก์ชัน MID ตัดตัวอักษรโดยเริ่มจากตำแหน่งใด ๆ มาใช้เท่าที่ต้องการ
ฟังก์ชัน LEN แปลงตัวอักษร เป็น จำนวนของตัวอักษร
ฟังก์ชัน LTRIM ตัดช่องว่างทางด้านซ้าย ทิ้งไป
ฟังก์ชัน RTRIM ตัดช่องว่างทางด้านขวา ทิ้งไป
ฟังก์ชัน TRIM ตัดช่องว่างทางด้านขวา และซ้าย ทิ้งไป
ฟังก์ชัน REPLACE แทนที่ข้อความ ด้วยจากคำที่ค้นหา ด้วยคำใหม่
ฟังก์ชัน rnd ส่งค่าที่ได้จากการสุ่ม ตั้งแต่ 0 แต่ไม่ถึง 1
ฟังก์ชัน ROUND ปัดเศษเท่าจำนวนหลักที่ต้องการ
ฟังก์ชัน TYPENAME แสดงชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชั่น Atn() หมายถึงอัตราส่วนของด้านตรงข้ามมุมกับด้านประชิด
ฟังก์ชั่น Exp() หมายถึงตัวเลขที่ต้องการแสดงเลขฐาน e
ฟังก์ชั่น Int(),Fix() หมายถึงตัวเลขที่ต้องการปัดเศษ
ฟังก์ชั่น Log ใช้แสดงค่า Logarithm ของตัวเลขที่กำหนด
ฟังก์ชั่น Sgn() ใช้สำหรับบอกว่าตัวเลขที่กำหนดเป็นจำนวนเต็ม, จำนวนเต็มลบ, จำนวนเต็มศูนย์
ฟังก์ชั่น Tan() ใช้แสดงค่า Tangent ของมุมที่กำหนด
ฟังก์ชั่น Sin() ใช้แสดงค่า Sine ของมุมที่กำหนด
ฟังก์ชั่น Cos() ใช้แสดงค่า Cosine ของมุมที่กำหนด
ฟังก์ชั่น Sqr() ใช้แสดงค่ารากของตัวเลข
ฟังก์ชั่น Oct() ใช้แปลงเลขฐาน 10 ให้อยู่ในรูปของ String ของเลขฐาน 8
ฟังก์ชั่น Hex() ใช้แปลงเลขฐาน 10 ให้อยู่ในรูปของ String ของเลขฐาน 16
ตัวอย่างฟังก์ชั่น


** ให้สร้าง Form เพื่อส่งค่าตัวแปรตามที่กำหนด
ฟังก์ชัน ABS แปลงตัวเลขเป็นค่าสัมบูรณ์(absolute)
รูปแบบ และคำอธิบาย
abs(number)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
abs(999) จะได้ 999
abs(444) จะได้ 444
abs(-10) จะได้ 10
abs(abcd) จะได้ 0
abs("abcd") จะได้ 0
abs( ) จะได้ Null หรือ ว่างเปล่า
abs(Null) จะได้ Null หรือ ว่างเปล่า
<%
xx = request.form("x")
result = abs(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน ASC แปลงตัวอักษร เป็น ตัวเลข ascii ฐาน10 หรือแปลงตัวอักษร เป็น ANSI character codeตัวเลข ascii ฐาน 10 จะอยู่ในช่วง 0 - 255
รูปแบบ และคำอธิบาย
asc(string)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
asc("A") จะได้ 65
asc("B") จะได้ 66
asc("0") จะได้ 48
asc("1") จะได้ 49
asc("a") จะได้ 97
asc("b") จะได้ 98
<%
xx = request.form("x")
result = asc(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน CDATE แปลงตัวอักษร ให้มีรูปแบบเป็นวันที่
รูปแบบ และคำอธิบาย
cdate(string)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
cdate("1/1/2000") จะได้ 1/1/2000
cdate("12/12/3000") จะได้ 12/12/3000
<%
xx = request.form("x")
result = cdate(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน CHR แปลงตัวเลข ascii ฐาน 10 เป็น ตัวอักษรตัวเลข ascii ฐาน 10 จะอยู่ในช่วง 0 - 255
รูปแบบ และคำอธิบาย
chr(character code)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
chr(65) จะได้ A
chr(66) จะได้ B
chr(48) จะได้ 0
<%
xx = request.form("x")
result = chr(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน DAY แปลงค่าวันที่ เป็น เลขวันที่
รูปแบบ และคำอธิบาย
day(date)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
day(date) จะได้ 28 ถ้าค่า date = 2/28/2000
day(date) จะได้ 10 ถ้าค่า date = 1/10/2001
<%
xx = cdate(request.form("x"))
result = day(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน MONTH แปลงค่าวันที่ เป็น เลขเดือน
รูปแบบ และคำอธิบาย
month(date)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
month(date) จะได้ 2 ถ้าค่า date = 2/28/2000
month(date) จะได้ 1 ถ้าค่า date = 1/10/2001
<%
xx = cdate(request.form("x"))
result = month(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน YEAR แปลงค่าวันที่ เป็น เลขปี
รูปแบบ และคำอธิบาย
year(date)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
year(date) จะได้ 2000 ถ้าค่า date = 2/28/2000
year(date) จะได้ 2001 ถ้าค่า date = 1/10/2001
<%
xx = cdate(request.form("x"))
result = year(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน HOUR แปลงเวลา เป็น เลขชั่วโมง
รูปแบบ และคำอธิบาย
hour(time)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
hour(time) จะได้ 18 ถ้าค่า date = 18:59:30
hour(time) จะได้ 4 ถ้าค่า date = 4:15:44
<%
xx = request.form("x")
result = hour(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน MINUTE แปลงเวลา เป็น เลขนาที
รูปแบบ และคำอธิบาย
minute(time)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
minute(time) จะได้ 59 ถ้าค่า date = 18:59:30
minute(time) จะได้ 15 ถ้าค่า date = 4:15:44
<%
xx = request.form("x")
result = minute(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน SECOND แปลงเวลา เป็น เลขวินาที
รูปแบบ และคำอธิบาย
second(time)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
second(time) จะได้ 30 ถ้าค่า date = 18:59:30
second(time) จะได้ 44 ถ้าค่า date = 4:15:44
<%
xx = request.form("x")
result = second(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน LCASE แปลงตัวอักษร เป็นตัวอักษรพิมพ์เล็ก
รูปแบบ และคำอธิบาย
lcase(string)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
lcase("AbCdEfGh12") จะได้ abcdefgh12
lcase("Yonok in Lampang") จะได้ yonok in lampang
<%
xx = request.form("x")
result = lcase(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน UCASE แปลงตัวอักษร เป็นตัวอักษรพิมพ์ใหญ่
รูปแบบ และคำอธิบาย
ucase(string)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
ucase("AbCdEfGh12") จะได้ ABCDEFGH12
ucase("Yonok in Lampang") จะได้ YONOK IN LAMPANGE
<%
xx = request.form("x")
result = ucase(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน LEFT ตัดตัวอักษรทางด้านซ้ายมาใช้เท่าที่ต้องการ
รูปแบบ และคำอธิบาย
left(string,len)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
left("ABCDEF",2) จะได้ AB
left("xyz234",4) จะได้ xyz2
<%
xx = request.form("x")
yy = request.form("y")
result = left(xx,yy)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน RIGHT ตัดตัวอักษรทางด้านขวามาใช้เท่าที่ต้องการ
รูปแบบ และคำอธิบาย
right(string,len)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
right("ABCDEF",2) จะได้ EF
right("xyz234",4) จะได้ z234
<%
xx = request.form("x")
yy = request.form("y")
result = right(xx,yy)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน MID ตัดตัวอักษรโดยเริ่มจากตำแหน่งใด ๆ มาใช้เท่าที่ต้องการ
รูปแบบ และคำอธิบาย
mid(string,position,len)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
mid("ABCDEF",2,2) จะได้ BC
mid("xyz234",4,2) จะได้ 23
<%
xx = request.form("x")
yy = request.form("y")
zz = request.form("z")
result = left(xx,yy,zz)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน LEN แปลงตัวอักษร เป็น จำนวนของตัวอักษร
รูปแบบ และคำอธิบาย
len(string)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
len("abc") จะได้ 3
len("12345") จะได้ 5
<%
xx = request.form("x")
result = len(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน LTRIM ตัดช่องว่างทางด้านซ้าย ทิ้งไป
รูปแบบ และคำอธิบาย
ltrim(string)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
ltrim(" abc ") จะได้ "abc "
ltrim(" 123 ") จะได้ "123 "
<%
xx = request.form("x")
result = ltrim(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน RTRIM ตัดช่องว่างทางด้านขวา ทิ้งไป
รูปแบบ และคำอธิบาย
rtrim(string)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
rtrim(" abc ") จะได้ " abc"
rtrim(" 123 ") จะได้ " 123"
<%
xx = request.form("x")
result = rtrim(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน TRIM ตัดช่องว่างทางด้านขวา และซ้าย ทิ้งไป
รูปแบบ และคำอธิบาย
trim(string)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
trim(" abc ") จะได้ "abc"
trim(" 123 ") จะได้ "123"
<%
xx = request.form("x")
result = trim(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน REPLACE แทนที่ข้อความ ด้วยจากคำที่ค้นหา ด้วยคำใหม่
รูปแบบ และคำอธิบาย
replace(string,find,with)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
replace("abcde","bcd","<b>bcd</b>") จะได้ ข้อความที่ถูกเปลี่ยน
replace("My name is asp","asp","ASP") จะได้ ข้อความที่ถูกเปลี่ยน
replace("thaiall","zzz","aaa") จะไม่เกิดอะไรขึ้น เพราะหาไม่พบ
<%
xx = request.form("x")
yy = request.form("y")
zz = request.form("z")
result = replace(xx,yy,zz)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน rnd ส่งค่าที่ได้จากการสุ่ม ตั้งแต่ 0 แต่ไม่ถึง 1
รูปแบบ และคำอธิบาย
rnd(number)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
ต้องเริ่มต้นด้วย randomize
rnd จะได้ 0.07
rnd จะได้ 0.61
<%
xx = request.form("x")
randomize
result = rnd(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน ROUND ปัดเศษเท่าจำนวนหลักที่ต้องการ
รูปแบบ และคำอธิบาย
round(number,position)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
round(12.76543) จะได้ 13
round(12.76543,4) จะได้ 12.7654
round(12.76543,2) จะได้ 12.77
round(12.76543,1) จะได้ 12.8
<%
xx = request.form("x")
yy = request.form("y")
result = round(xx,yy)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

ฟังก์ชัน TYPENAME แสดงชนิดของข้อมูล
รูปแบบ และคำอธิบาย
typename(var)
ตัวอย่างการใช้ และผลลัพธ์
typename(now) จะได้ date
typename("abc") จะได้ string
<%
xx = request.form("x")
result = typename(xx)
response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>

Source code ตัวอย่าง FFUNC.ASP
ฟังก์ชันสำหรับทดสอบ function ทั้ง 23 ตัว โดยรับค่ามาจาก form ผ่าน request.form("cmd")
และ request.form("x") request.form("y") request.form("z") แล้วแสดงผลตามที่ได้ประมวลผล

<html>
<body><font face="ms sans serif" size=0>
ทดสอบ function พื้นฐานของ ASP<br>
สำหรับคำสั่ง <b><%=request.form("cmd") %></b>
<hr>
<%
cmd = request.form("cmd")
xx = request.form("x")
yy = request.form("y")
zz = request.form("z")
select case cmd
case "abs" : result = abs(xx)
case "asc" : result = asc(xx)
case "cdate" : result = cdate(xx)
case "chr" : result = chr(xx)
case "date"
xx = cdate(request.form("x"))
result = date(xx)
case "month"
xx = cdate(request.form("x"))
result = month(xx)
case "year"
xx = cdate(request.form("x"))
result = year(xx)
case "hour" : result = hour(xx)
case "minute" : result = minute(xx)
case "second" : result = second(xx)
case "lcase" : result = lcase(xx)
case "ucase" : result = ucase(xx)
case "left" : result = left(xx,yy)
case "right" : result = right(xx,yy)
case "mid" : result = mid(xx,yy,zz)
case "len" : result = len(xx)
case "ltrim" : result = ltrim(xx)
case "rtrim" : result = rtrim(xx)
case "trim" : result = trim(xx)
case "replace" : result = replace(xx,yy,zz)
case "rnd"
randomize
result = rnd(xx)
case "round" : result = round(xx,yy)
case "typename" : result = typename(xx)
end select
if len(cmd) > 0 then response.write( "old = " & xx & " New = " & result)
%>
<hr>
</body>
</html>

TOP