การเขียนโปรแกรมภาษา PHP

            
               

หากยังไม่เข้าใจลองมา ดูตัวอย่างซักตัวอย่างครับ

sample1.php

<html>
<head>
<form name="form1" method="post" action="sample2.php">
ชื่อ
<input type="text" name="name">
<br>
นามสกุล
<input type="text" name="surname">
<br>
<br>
<input type="submit" value="Submit">
<input type="reset"value="Reset">
</form>
</body>
</html>

Out Put

sample2.php
<html>
<body>
ชื่อ <? echo"$name" ?>
<br>
นามสกุล <?echo "$surname" ?>
</body>
</html>
Out Put

Querystring คืออะไร ?
Querystring คือข้อมูลที่ Browser ส่งต่อท้าย URL ของ Page ที่ต้องการใช้ไปยัง
Web Server โดยข้อมูลจะประกอบไปด้วยชื่อของข้อมูลและค่าของข้อมูล
รูปแบบ http://127.0.0.1/file-name.php?var-name=value
หากต้องการส่งค่ามากกว่าหนึ่งค่า ให้ใช้เครื่องหมาย & ขั้นระหว่างตัวแปร
รูปแบบ http://127.0.0.1/file-name.php?var-name1=value&var-name2=value
การอ่านข้อมูลจาก Querystring
สามารถอ่านได้จากค่า var-name ที่เราตั้งขึ้นมาได้เลย
เช่น $var-name
echo"$var-name";
การสร้างข้อมูลให้อยู่ในรูป Querystring

สามารถ สร้างได้ 3 รูปแบบคือ

1. สร้างจาก Tag <a>... </a>
กำหนดในส่วนคุณสมบัติของ HREF ของ TAG <a> </a> ตัวอย่าง
sample1.php

<html>
<body>
<a href="sample2.php?name=werachai numkitram&old=21">Test Querystring </a>
</body>
</html>
Out Put


sample 2.php
<html>
<body>
ชื่อ <? echo"$name" ?>
<br>
อายุ<?echo "$old" ?>
</body>
</html>
Out Put

2. การสร้าง Querystring ด้วย HTML Form
เหมือนกันการออกแบบ Form ธรรมดาครับ แต่แตกต่างตรงที่ method="get" ตัวอย่าง
sample1.php
<html>
<body>
<form name="form1" method="get" action="sample2.php">
ชื่อ
<input type="text" name="name">
<br>
อายุ
<input type="text" name="old">
<br>
<br>
<input type="submit" value="Submit">
<input type="reset" value="Reset">
</form>
</body>
</html>
Out Put


sample2.php
<html>
<body>
ชื่อ <? echo"$name" ?>
<br>
อายุ<?echo "$old" ?>
</body>
</html>
Out Put
3.การกำหนดตรงช่อง Address Bar

เพิ่มเติมครับ
หากต้องการ นำค่า Querystring จากค่าของตัวแปรก็สามารถทำได้ง่าย ๆ ครับ

sample1.php
<html>
<body>
<?
$name="วีระชัย นุกิจรัมย์";
$old=21;
?>
<a href="sample2.php?name=<?echo"$name"; ?>&old=<? echo"$old"; ?>">Test Querystring </a>
</body>
</html>
sample2.php
<html>
<body>
ชื่อ <? echo"$name" ?>
<br>
อายุ<?echo "$old" ?>
</body>
</html>
.Form
กำหนดกรอบของ Form ที่จะมีการส่งข้อมูล การแทรก Element ของ Form อื่น ๆ ที่ต้องการส่งข้อมูลต้องกำหนดในช่วงกรอบนี้
รูปแบบ
<form name="[form-name]" method="[post/get]" action="[fike-name]">
Code

</form>


ตัวอย่าง

<form name="form1" method="post" action="sample.php">
<input type="text" name="name">
<input type="text" name="email">
</form>
2.Button submit

กำหนดส่งค่าจากส่วนประกอบต่างๆ ใน Form (Element) ไปยัง Web Server เพื่อทำการประมวลผล
เราจะใช้งานร่วมกับ Form

รูปแบบ
<input type="submit" value="[comment]">
ตัวอย่าง
<form name="form1" method="post" action="sample.php">
<input type="text" name="name">
<input type="text" name="email">
<input type="submit" value="submit">
</form>
เพิ่มเติมครับการสร้างปุ่ม Submit แบบรูปภาพ
<input type="image" name="submit" value="submit" src="image-name">

3.Button reset
กำหนด Clear ส่วนข้อมูลที่ได้ทำการใส่เข้าไปใน Textbox โดยจะทำการ Clear ข้อความใดๆ
รูปแบบ
<input type="reset" value="[comment]">
ตัวอย่าง

<form name="form1" method="post" action="sample.php">
<input type="text" name="name">
<input type="text" name="email">
<br>
<input type="submit" value="Submit">
<input type="reset" value="Reset">
</form>
เพิ่มเติมครับการสร้างปุ่ม Reset แบบรูปภาพ
<input type="image" name="reset" value="reset" src="image-name">
4.Text Filed

กำหนดช่องรับข้อมูลจะทำงานร่วมกับ Form โดยจะต้องแทรกใว้ในกรอบของ Form
การอ่านค่าจาก Element ของ Text Filed

<?
$var-name
echo"$var-name";
? >
รูปแบบ
<input type="text" name="var-name">

เช่น
<form name="form1" method="post" action="sample.php">
<input type="text" name="name">
<input type="text" name="email">
<br>
<input type="submit" value="Submit">
<input type="reset" value="Reset">
</form>
ตัวอย่าง
sample1.php
<html>
<head>
<form name="form1" method="post" action="sample2.php">
ชื่อ
<input type="text" name="name">
<br>
นามสกุล
<input type="text" name="surname">
<br>
<br>
<input type="submit" value="Submit">
<input type="reset"value="Reset">
</form>
</body>
</html>
Out Put

sample2.php
<html>
<body>
ชื่อ <? echo"$name" ?>
<br>
นามสกุล <? echo "$surname" ?>
</body>
</html>
Out Put

5. Textarea Filed เป็นเหมือนกับ Text Filed แต่จะมีช่องกรอกข้อมูลที่ใหญ่ขึ้น การแทรกจะแทรกใว้ในกรอบของ Form เหมือนกับ Text Filed

การอ่านค่าจาก Element ของ Text Filed

<?
$var-name
echo"$var-name";
? >
รูปแบบ
<textarea name="var-name" cols="50" rows="3"></textarea>
เมื่อ
Cols=จำนวน ความกว้างของช่องกรอกข้อมูล
Roes = จำนวนความสูงของช่องกรอกข้อมูล
ตัวอย่าง
sample1.php
<html>
<body>
<form name="form1" method="post" action="sample2.php">
กรอกข้อมูล<br>
<textarea name="comment" cols="50" rows="3"></textarea>
<br>
<input type="submit" value="Submit">
<input type="reset" value="Reset">
</form>
</body>
</html>
Out Put

sample2.php
<html>
<body>
ข้อความคือ : <? echo"$comment"; ?>
</body>
</html>
Out Put

6. Check Box ใช้กำหนดว่ามีการเลือกหรือไม่
รูปแบบ กำหนดได้ 2 วิธีคือ
1.ให้ค่าว่างเปล่าโดยยังไม่มีการเลือก
<input type="checkbox" name="var-name" value="[value]">

2.ให้ค่ามีการเลือกใว้แล้ว
<input type="checkbox" name="var-name" value="[value]" checked>

ทำความเข้าใจก่อนครับ

การตรวจสอบว่ามีการเลือกหร่อไม่ สามารถทำได้ง่าย ๆ ครับ คือ กำหนดค่า on ให้กับ checkbox
การอ่านค่าจาก Check Box

$var-name
หากมีการคลิกเลือก จะมีค่าเป็น on และแสดงค่า value ออกมา
หากไม่มีการคลิอกเลือก จะมีค่าเป็น off และไม่แสดงค่า value

หากไม่เข้าใจลองมาดูซักตัวอย่างหนึ่งครับ
sample1.php
<html>
<body>
<form name="form1" method="post" action="sample2.php">
<input type="checkbox" name="check" value="on">
<br>
<input type="submit" name="Submit" value="Submit">
</form>
</body>
</html>
Out Put

sample2.php
<html>
<body>
<?
if ($check=="no")
{
echo "คุณได้ทำการเลือก";
}
?>
</body>
</html>
Out Put

หากคุณไม่ได้ทำการคลิกเลือก
Out Put จะได้เป็นค่าว่างเปล่า

7. Radio Button ใช้กำหนด ให้มีการเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง

การอ่านค่าจาก Element ของ Radio button

<%
$var-name
echo"$var-name";
%>
รูปแบบ กำหนดได้ 2 แบบ
1.ให้ค่าว่างเปล่ายังไม่มีการเลือก
<input type="radio" name="var-name" value="[value]">


TOP