ความหมายของ ASP ?
ASP คืออะไร
ASP ย่อมาจาก Active Server Pages อ่านออกเสียงว่า "เอ เอส พี"
ASP ใช้สำหรับสร้างงาน(application)ขั้นสูง ในอินเตอร์เน็ต-อินทราเน็ต เสริมการ
ทำงานที่ไฟล์ html ธรรมดาทำไม่ได้ หรือต้องการให้งานต่างๆเป็นไปอย่างอัตโนมัติ
โดยผู้ใช้ไม่ต้องทำการปรับปรุงข้อมูลเอง เหมาะสำหรับผู้ใช้มืออาชีพหรือผู้ที่สนใจอย่างจริงจัง
หรือทำเป็นอาชีพ สำหรับผู้ใช้ที่ไม่ต้องการเว็บไซต์ที่มีลักษณะดังกล่าวข้างต้น หรือมีข้อมูลน้อยเพียงไม่กี่หน้า นานๆจะปรับปรุงข้อมูลสักครั้ง
ก็ไม่จำเป็นต้องใช้ก็ได้ สำหรับงานที่ต้องการให้เป็นอัตโนมัติเช่น Guest Book, Counter,
สถิติ, ห้องสนทนา ก็สามารถสมัครใช้บริการหรือใช้ cgi สำเร็จรูปได้ซึ่งมีหลายเว็บไซต์ให้บริการโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย
ลักษณะการทำงานเป็นดังนี้


การแทรกคำอธิบายใน ASP จะแทรกด้วยสัญลักษณ์ ' comment
เช่น
<%
Dim a,b,c ' ประกาศตัวแปร
a=1 ' กำหนดค่าตัวแปร a
b=2 ' กำหนดค่าตัวแปร b
c=3 ' กำหนดค่าตัวแปร ac
%>
Sample
<SCRIPT LANGUAGE=VBSCRIPT RUNAT=SERVER>
'เปิดไฟล์ Text สำหรับบันทึกจำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ การเรียกใช้มีคำอธิบายอยู่ด้านล่าง
'ในส่วนของ Sub Application_OnStart นี้สามารถใส่ application อื่นๆได้อีกตามต้องการ
'แต่สิ่งที่จะใส่ในส่วนนี้ควรเป็น โปรแกรมที่ต้องมีการ share หรือใช้ตัวแปรนี้ร่วมกันทุกคนที่เข้ามาในเว็บไซต์
'เช่น จำนวน visitor ในตัวอย่างนี้ หรืออาจจะนำมานับจำนวนคนที่กำลัง connect กับเว็บไซต์ของคุณ
'อยู่ก็ได้
Sub Application_OnStart
VisitorCountFilename = Server.MapPath("counter.txt")
Set FileObject = Server.CreateObject("Scripting.FileSystemObject")
Set Out= FileObject.OpenTextFile (VisitorCountFilename, 1, False, False)
Application("visitors") = Out.ReadLine
Application("VisitorCountFilename") = VisitorCountFilename
End Sub
'ถ้าเปิด Application ใดๆใน Application_OnStart ควรต้องมาปิดในนี้ด้วย
Sub Application_OnEnd
Set FileObject = Server.CreateObject("Scripting.FileSystemObject")
Set Out= FileObject.CreateTextFile (Application("VisitorCountFilename"), True, False)
Out.WriteLine(Application("visitors"))
Out.Close
End Sub
'Sub Session_OnStart นี้ใช้สำหรับส่งหรือบันทึกตัวแปรไว้เพื่อให้ผู้ใช้เว็บไซต์แต่ละคน
Sub Session_OnStart
'ดูตัวอย่างการนำ session สองตัวแปรนี้ไปใช้ในไฟล์ .asp ได้ที่ตัวอย่างด้านล่าง
Session("PageTheme") = "background=/bg.jpg text=#000000 bgcolor=#FFFFFF link=#0000ee vlink=#551A8B alink=#ff0000"
Session("PageTitle") = " ส่วนแก้ของไตเติล "
'เขียนจำนวนผู้ใช้เว็บเพิ่มอีก 1 คน
Application.Lock
Application("visitors") = Application("visitors") + 1
t_visitors = Application("visitors")
Application.Unlock
Session("VisitorID") = t_visitors
If t_visitors MOD 15 = 0 Then
Set FileObject = Server.CreateObject("Scripting.FileSystemObject")
Set Out= FileObject.CreateTextFile (Application("VisitorCountFilename"), True, False)
Application.Lock
Out.WriteLine(t_visitors)
Application.Unlock
End If
End Sub
'ลบตัวแปรที่กำหนดไว้ใน Sub Session_OnStart
Sub Session_OnEnd
Session("PageTheme") = Nothing
Session("PageTitle") = Nothing
End Sub
</SCRIPT>
การเขียนเว็บด้วย HTML เท่านั้น
<html></title>
Hello<hr>
1<br>
2<br>
3<br>
4<br>
5<br>
<hr>Bye
</body></html> |
Hello
----------------------------------------------------------------------------
1
2
3
4
5
-----------------------------------------------------------------------------
Bye |
การเขียนเว็บด้วย ASP เท่านั้น
<%
response.write( "<html><title>Welcome to " )
response.write( request.servervariables("SERVER_NAME") )
response.write( "</title><body>Hello<hr>" )
for n = 1 to 5
response.write( n & "<br>")
next
response.write( "<hr>Bye</body></html>" )
%> |
Hello
--------------------------------------------------------------------------------
1
2
3
4
5
--------------------------------------------------------------------------------
Bye
|
การเขียนเว็บด้วย ASP และ HTML ร่วมกัน
<html>
<title>
Welcome to <%=request.servervariables("SERVER_NAME")%>
</title>
<body>
Hello<hr>
<%
for n = 1 to 5
response.write( n & "<br>")
next
%>
<hr>Bye
</body></html> |
Hello
--------------------------------------------------------------------------------
1
2
3
4
5
--------------------------------------------------------------------------------
Bye |
ชนิดของตัวแปร
Empty |
ข้อมูลชนิดว่าง คือค่าเป็น 0 |
Null |
ข้อมูลว่างๆไม่มีค่าใด ๆ เลย |
Boolean |
เป็นข้อมูลทางตรรกะ คือ True กับ False |
Byte |
จำนวนเต็ม 0-255 |
Integer |
จำนวนเต็ม -32,768 ถึง 32,767 |
Long |
จำนวนเต็ม -2,483,147,483 ถึง 2,174,483,647 |
Double |
ข้อมูลที่เป็นทศนิยม |
Date |
ใช้เก็บวันและเวลา |
String |
ใช้เก็บข้อความ |
Object |
ตัวแปร Object |
Error |
ชนิดของข้อมูลที่ใช้ในการอ้างถึงคอนโทรลต่าง ๆ |
|
|
การประกาศตัวแปร
รูปแบบ
Dim <ตัวแปร>
เช่น Dim name
หลักการตั้งชื่อตัวแปร
1.ต้องไม่ซ้ำกันในโปรแกรมเดียวกัน
2.ไม่ตรงกันคำสงวน
3.ความยาวไม่เกิน 255 ตัวอักขระ
4.ต้องเริ่มต้นด้วย A-Z หรือ a-z
ชนิดของการประกาศตัวแปร
1.ประกาศโดยใช้ Dim
ตัวอย่าง
Dim name,surname
2.ประกาศโดยไม่ใช้ Dim
ตัวอย่าง
name="นายวีระชัย นุกิจรัมย์"
age=21
Constant ค่าคงที่
การประกาศค่าคงที่ เป็นการประกาศค่าที่จะใช้ตลอด Application
Const <ชื่อค่าคงที่> = <ค่าคงที่>
ตัวอย่าง
Const CID= 123456789
การเปลี่ยนชนิดของข้อมูล
Function |
Type Data |
Example |
Result |
CInt |
Integer |
CInt ("1000.1000 ") |
1000 |
CLng |
Long |
CLng ("1000.1000 ") |
1000 |
CSng |
Single |
CSng ("1000.1000 ") |
1000.10 |
CDbl |
Double |
CDbl ("1000.1000 ") |
1000.1000 |
CBool |
Boolean |
CBool ("1000=1000 ") |
True |
CByte |
Byte |
CByte ("1000.1000 ") |
1000 |
CDate |
Date |
CDate ("24 December 70 ") |
12/24/70 |
Cstr |
String |
Cstr ("1000.1000 ") |
"1000.1000 " |
ตัวอย่าง
UTCC = "6923050.1121"
UTCC = Cint(UTCC)
Output 6923050
Operator ของ Asp
Operator นั้นเป็นการกระทำบางอย่างกับข้อมูล และได้ผลลัพธ์ออกมา ซึ่ง Operator ของ Asp นั้นสามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
- Operator ในการทำงานงานทางคณิตศาสตร์
Operator ที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การบวก , การลบ, การคูณ และการหาร เป็นต้น ซึ่งมีดังในตารางดังต่อไปนี้
การกระทำ |
สัญลักษณ์ |
ตัวอย่าง |
ผลลัพธ์ |
การบวก |
+ |
1+2 |
3 |
การลบ |
- |
2-1 |
1 |
การคูณ |
* |
2*2 |
4 |
การหาร |
/ |
7/2 |
3.5 |
การหารแบบเต็มจำนวน |
\ |
5\3 |
1 |
การหารแบบเอาเศษ |
Mod |
10 Mod 3 |
1 |
การยกกำลัง |
^ |
2^4 |
16 |
- Operator ในการทำงานทางตรรกะ
Operator ทางตรรกะจะให้ผลลัพธ์เป็นค่า True และ False ซึ่งรายละเอียดในการแสดงผลทางตรรกะในกรณีต่างๆ มีดังนี้
- Operator And
A |
B |
A and B |
True |
True |
True |
True |
False |
False |
False |
True |
False |
False |
False |
False |
สรุป ถ้าเป็นOperator And จะเป็น True กรณีเดียวคือ เมื่อทั้ง A และ B เป็น True
- Operator Or
A |
B |
A or B |
True |
True |
True |
True |
False |
True |
False |
True |
True |
False |
False |
False |
สรุป ถ้าเป็นOperator Or จะเป็น False กรณีเดียวคือ เมื่อทั้ง A และ B เป็น False
- Operator Xor
A |
B |
A Xor B |
True |
True |
False |
True |
False |
True |
False |
True |
True |
False |
False |
False |
สรุป ถ้าเป็นOperator Xor จะเป็น ผลที่ได้ออกมาเป็นดังนี้คือกรณีค่าของ A และ B ตรงกัน ผลจะออกมาเป็น False แต่ถ้าค่าของ A และ B ไม่ตรงกันผลออกมาจะเป็น True
Operator Eqv
A |
B |
A Eqv B |
True |
True |
True |
True |
False |
False |
False |
True |
False |
False |
False |
True |
สรุป ถ้าเป็นOperator Eqv จะเป็น ผลที่ได้ออกมาจะตรงกันข้ามกับ Xor คือ กรณีค่าของ A และ B ตรงกัน ผลจะออกมาเป็น True แต่ถ้าค่าของ A และ B ไม่ตรงกันผลออกมาจะเป็น False
Operator Imp
A |
B |
A Imp B |
True |
True |
True |
True |
False |
False |
False |
True |
True |
False |
False |
True |
สรุป Operator Imp จะมีค่าเหมือนกับคำว่า ถ้า....แล้ว ซึ่งถ้าสังเกตตาราง เราสามรถสรุปได้ว่า กรณีที่ผลลัพธ์จะเป็น False นั่นคือ เมื่อ A = True และ B = False เท่านั้น
Operator Not
A |
Not A |
True |
False |
False |
True |
สรุป Operator not จะเป็นการเปลี่ยนค่าที่มีอยู่ในเป็นตรงกันข้าม
- Operator ในการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลชนิด String
Operator กลุ่มนี้ เป็น Operator ที่ใช้ในการเชื่อมระหว่าง String กับ String เข้าด้วยกัน หรือ ระหว่าง String กับ Numueric ซึ่งมีดังนี้
+ = ใช้เชื่อม String กับ String
& = ใช้เชื่อม String กับ Numeric หรือ String ก็ได้เช่นกัน
ตัวอย่าง
"ASP" + "Chapter.com"
ผลที่ได้ ASP Chapter.com
อีกสักตัวอย่าง
X = "Hello"
Y = 5
Z = "Times"
W = X&Y&Z
ผลลัพธ์ที่ได้ Hello 5 times
- Operator ในการเปรียบเทียบ
สัญลักษณ์ |
ความหมาย |
รูปแบบการใช้งาน |
= |
เท่ากับ |
A = B |
<> |
ไม่เท่ากับ |
A <> B |
< |
น้อยกว่า |
A < B |
> |
มากกว่า |
A> B |
<= |
น้อยกว่าหรือเท่ากับ |
A<= B |
>= |
มากกว่าหรือเท่ากับ |
A>=B |
สรุป Operator ต่างเหล่านี้เป็นสิ่งจำเป็นมากในการเขียนโปรแกรม เพราะเป็นหลักการพื้นฐานสำหรับใช้ในการควบคุมและกำหนดรูปแบบการทำงานของโปรแกรม ถ้ามีการทำความเข้าใจในส่วนนี้เป็นอย่างดีแล้ว จะช่วยให้การเขียนโปรแกรมในการตรวจสอบเงื่อนไข ไม่ใช่เรื่องยากเย็นอีกต่อไป เพราะสิ่งที่เจอก็คือ ไม่ว่าจะเป็นมือใหม่หรือมือเก่า ถึงคราวต้องตัดสินใจด้วยเงื่อนไขการทำงานบางอย่างที่ซับซ้อน ก็เล่นเอาปวดหัวเหมือนกัน ก็ต้องกลับมาใช้หลักพวกนี้นั่นเอง
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เป็นกลุ่มเดียวกัน เพื่อลดความซ้ำซ้อนของตัวแปรที่จะเกิดขึ้น
การประกาศตัวแปร Array
Dim A(5)
'ประกาศตัวแปร Array A(0),A(1),A(2),A(3),A(4),A(5)
การกำหนดค่าให้กับ Array
A(0)=4
A(1)=9
A(2)=5
A(3)=6
A(4)=3
A(5)=1
การประกาศตัวแปร Array หลายมิติ
Dim B(2,5) 'Array 2 มิติ
Dim C(2,4,8) 'Array 3 มิติ
TOP |